แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ nidaitm contest by Akira Yoshizawa แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ nidaitm contest by Akira Yoshizawa แสดงบทความทั้งหมด

วันอังคารที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2555

nidaitm contest2 by Akira Yoshizawa

Akira Yoshizawa

"Akira Yoshizawa ครบรอบวันเกิด ปีที่ 101 ผู้สร้างศิลปะการพับกระดาษ doogle วันนี้ 14 มีนาคม" ลาย google วันนี้ 14 มีนาคม ประวัติ Akira Yoshizawa เป็นผู้สร้างความเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นในศิลปะการพับกระดาษ Akira Yoshizawa nidaitm contest2 เขาได้พัฒนารูปแบบใหม่ๆของการพับกระดาษมากกว่า 50,000 ชิ้นงาน เพื่อให้เป็นรูปแบบที่แน่นอนและถูกต้อง เขาได้ทำหนังสือรวบรวมงานของเขา(ซึ่งอาจใช้เวลามากกว่า 2,000 ปี) ถึงจะเสร็จ
nidaitm contest2
doogle Akira Yoshizawa ลาย google วันนี้ 14 มีนาคม ประวัติการพับกระดาษโอริกามิ (Origami) คำว่า Origami มาจากภาษาญี่ปุ่นซึ่งเป็นคำผสมจากคำว่า 'Ori' แปลว่า 'พับ' และคำว่า 'Kami' แปลว่า 'กระดาษ' เมื่อเวลาผสมกันแล้ว คำศัพท์มันก็จะเพื้ยนไปเป็น Origami

เมื่อก่อนศตวรรษที่ 20 วิธีการและรูปแบบการพับกระดาษเป็นแบบธรรมดาทั่วไป แต่หลังจากนั้น การพับกระดาษก็ได้พัฒนา เปลี่ยนแปลงไปจนมากกว่าแค่การพับกระดาษ วัตถุดิบที่ใช้ทำการพับกระดาษสิ่งที่สำคัญที่ขาดไม่ได้ในการพับ กระดาษก็คือกระดาษนั้นเอง ซึ่งกระดาษถูกผลิตขึ้นเป็นครั้งแรกที่ประเทศจีน ในช่วง 250 ก่อนคริตศักราช(ค.ศ.) จากนั้นญี่ปุ่นก็ได้เรียนรู้วิธีการทำกระดาษ สี หมึก จากประเทศจีนและสามารถผลิตได้เองในปี 610 A.D. ในที่สุด

วิวัฒนการของโอริกามิญี่ปุ่นได้รับความรู้ทางด้าน ศิลปวัฒนธรรม ด้านกสิกรรม ด้านศาสนา ด้านจิตวิทยา ด้านเวชภัณฑ์ และด้านวิทยาศาสตร์ จากประเทศจีนผ่านทางเกาหลี เนื่องด้วยญี่ปุ่นมีขนาดที่เล็กทำให้ความรู้ต่างๆ nidaitm contest2 ถูกกระจายออกไปได้เร็วกว่า รูปแบบของ โอริกามิ ของญี่ปุ่นมีความซับซ้อนมากขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ.1200 รูปแบบของการพับกระดาษจะแสดงถึงสถานที่สำคัญต่างๆ ในสังคม กระดาษในสมัยนี้ไม่แพงอีกต่อไป ใครๆก็สามารถทำกันได้ทุกคน จนเมื่อ 400 ปีที่แล้วได้มีหลักสูตรการพับกระดาษขึ้นแก่เด็กๆในโรงเรียน

ในช่วงค.ศ.1603-1867 - 2 รูปแบบคือ กบและนก เป็นรูปแบบการพับกระดาษที่เก่าแก่ที่สุด (อ้างอิงจาก Senbazuru Orikata ( 1000 Cranes Origami or Folding of 1000 Cranes), 1797 and Kan No Mado (Window on Midwinter) การผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมตะวันออกและตะวันตก ช่วงปลายทศวรรษที่ 19 มีการจัดสัมมนาหัวข้อเรื่อง 'ORIGAMI' ที่กรุงปารีส จึงได้เกิดการผสมผสานวิธีการพับกระดาษของทางฝั่งตะวันออก และฝั่งตะวันตก โดยตัวแทนทางฝั่งตะวันตกได้แก่ 'Ligia Montoya' และ 'Adolfo Cerceda' ส่วนทางฝั่งตะวันออกมี 'Isao Honda' และ Akira Yoshizawa โดยทั่งสองฝ่ายได้มีการประชุมร่วมกันหลายครั้ง ซึ่งได้สรุปความแตกต่างกันระหว่างแบบตะวันตกกับตะวันออกก็คือ ทางฝั่งตะวันตกจะสื่อว่า Origami เป็นรูปแบบการพับกระดาษแบบเรียบง่าย และต้องมาจากกระดาษสี่เหลี่ยมขาวๆ 1 แผ่น ส่วนทางฝั่งตะวันออกจะบอกว่า Origami เป็นรูปแบบการพับกระดาษที่สวยงาม มีสีสันหลากหลาย ยิ่งโดดเด่น ยิ่งสวย ต่อมา Origami ได้ถูกใช้เป็นสื่อการสอนด้านการศึกษาคณิตศาสตร์ และด้านวิทยาศาสตร์ ด้านเรขาคณิตต่างๆ Robert Harbin ได้นำการพับกระดาษโลกตะวันตกมาประยุกต์ใช้ในการแสดงมายากลของเขา เขาได้รวบรวมงานทั้งหมดและตีพิมพ์ลงในหนังสือที่ชื่อ 'Paper Margin' จากนั้นรูปแบบการดีไซน์หลายๆอันก็ได้ปรากฎในหนังสือหลายๆเล่ม nidaitm contest2

ปัจจุบัน Origai รูปแบบต่างๆได้มีให้เห็นบ่อยๆตามหนังสือ นิตยสาร กระดาษห่อ หรือแม้กระทั่งการ์ดอวยพรในงานต่างๆ โดยทั่วไปแล้ว Origami จะต้องไม่มีการใช้กาว, การฉีก, การตัด, การตกแต่งอื่นๆนอกจากกระดาษ 1 แผ่นเท่านั้น และกระดาษนั้นต้องเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสอย่างสมบูรณ์

nidaitm contest by Akira Yoshizawa